1. การเรียนการสอนแบบใดที่เหมาะสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
1. สอนให้คิด
2. สอนให้จด
3. สอนให้จำ
4. สอนให้ทำตาม
2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้นำไปปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา โดยนำเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการสอนและกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน
1. Cloud Learning
2. Flip Learning
3. Social Learning
4. Active Learning
3. ข้อใดกล่าวถึง Classroom Clickers ได้ถูกต้องที่สุด
1. การเรียนการสอนที่ผู้เรียนใช้เมาส์ทำการคลิกศึกษาเนื้อหาบทเรียนในห้องเรียน
2. การเรียนการสอนที่ผู้เรียนตอบคำถามผ่านคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ระหว่างเรียนในห้องเรียน
3. การเรียนการสอนที่ผู้เรียนทำความเข้าใจเนื้อหาได้โดยง่ายจากสื่อวีดีโอ
4. การเรียนการสอนที่ผู้เรียนตั้งคำถามหรือประเด็นเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนให้กับผู้สอนก่อนเรียน
4. ข้อใดเป็นการนำ Gamification มาช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง
1. คุณครูแดงจัดกิจกรรมให้นักเรียนเล่นเกมส์เศรษฐี แข่งขันสร้างแลนด์มาร์คในแต่ละจังหวัดประกอบการสอนเรื่องประเทศไทย
2. คุณครูฟ้าให้นักเรียนแข่งเล่นเกมส์ต่อสู้กับปีศาจเพื่อฝึกทักษะการเอาตัวรอด
3. คุณครูส้มให้นักเรียนจับกลุ่มแข่งขันเกมส์ตอบปัญหาในฐานวิทยาศาสตร์ และเก็บคะแนนแต่ละฐาน กลุ่มไหนแพ้จะถูกลงโทษ
4. คุณครูขาวให้นักเรียนเล่นเกมส์ปั่นเพชรแข่งกันเพื่อฝึกทักษะการใช้เมาส์คอมพิวเตอร์
5. ข้อใดกล่าวถึง ห้องเรียนอัจฉริยะ ได้ถูกต้องครอบคลุมที่สุด
1. ห้องเรียนที่มีเทคโนโลยีและอุปกรณ์ครบครัน
2. ห้องเรียนที่เน้นการสอนทางด้านเทคโนโลยี
3. ห้องเรียนที่มีรูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีปฏิสัมพันธ์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
4. ห้องเรียนลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากห้องเรียนทั่วไป ใช้สำหรับการเสริมสร้างประสบการณ์ทางการเรียนการสอน การฝึกทักษะ การฝึกฝนอบรม รวมถึงการสร้างปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนรู้ร่วมกับเทคโนโลยีที่หลากหลายประเภททั้งสื่อในระบบภาพและเสียง ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
6. ข้อใดกล่าวถึง Gamification ได้ถูกต้องที่สุด
1. Gamification เป็นการนำทฤษฎีของเกม เช่น การสะสมแต้ม (Score) การเลื่อนระดับ (Level) มาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน
2. Gamification เป็นการใช้ทฤษฎีการเรียนการสอนพัฒนาสื่อรูปแบบเกมส์โดยเน้นทักษะการฝึกฝนซ้ำ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. Gamification เป็นการนำทฤษฎีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยมีการเชื่อมโยงหรือรวมศาสตร์ต่าง ๆ ตั้งแต่ 2 สาขาวิชาขึ้นไป พัฒนาสื่อรูปแบบเกมส์ เพื่อเชื่อมโยงความรู้และทักษะระหว่างวิชา
4. ไม่มีข้อใดถูก
7. คำในข้อใดที่มีความหมายไม่เกี่ยวข้องกับมโนทัศน์ของความเป็นห้องเรียนอัจฉริยะ
1. Showing
2. Manageable
3. Real-time Interactive
4. Ability
8. ข้อใดเป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอนที่ไม่สอดคล้องกับการสอนของผู้สอนในศตวรรษที่ 21 มากที่สุด
1. การบรรยายหน้าชั้นเรียน (Lacture)
2. ห้องเรียนอีเลินนิ่ง (e-Learning)
3. ห้องเรียนกลับด้าน (Flip Classroom)
4. ห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Learning)
9. คุณสมบัติที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ (Think Creativity) ที่พึงมีสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 อยู่ในทักษะด้านใดมากที่สุด
1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
2. ทักษะด้านข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ
3. ทักษะชีวิตและอาชีพการงาน
4. ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม
1. ซอฟต์แวร์สำหรับติดตามผลการดำเนินงานหรือตัวชี้วัดหลักที่ใช้ในการอบรมครั้งนี้มีชื่อว่าอะไร
1. Simple KPI
2. Multiple KPI
3. IBM KPI
4. KPI Library
2. ทฤษฎีใดต่อไปนี้ที่นิยมนำมาใช้ร่วมกับการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน(KPI)
1. การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT)
2. ดัชนีวัดความสำเร็จแบบสมดุล(Balanced Scorecard: BSC)
3. การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
4. ถูกทั้ง 2 และ 3
3. ซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้คู่กับ MS Excel 2010 เพื่อให้สามารถใช้งาน Excel Dashboard ได้ มีชื่อว่าอะไร
1. Pivot Table
2. Power Pivot
3. Power Pilot
4. Pilot Table
4. ในการสร้างหรือจัดทำตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPI) โดยใช้ MS Excel ใช้ผ่านคำสั่งใด
1. KPI Formatting
2. Conditional Formatting
3. KPI Conditional Formatting
4. Calculation Formatting
5. ขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนที่ใช้สำหรับสร้างความมั่นใจให้กับผู้ใช้เกี่ยวกับตัวชี้วัดว่าเป็นตัวชี้วัดมีคุณสมบัติที่ดี
1. ขั้นตอนการสร้างตัวชี้วัด
2. ขั้นตอนการจัดหาเครื่องมือ
3. ขั้นตอนการนำเสนอรายงานตัวชี้วัด
4. ขั้นตอนการตรวจคุณภาพตัวชี้วัด
6. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของตัวชี้วัดผลการดำเนินงานน (KPI)
1. มีตัวชี้วัดที่แสดงถึงผลการดำเนินงานและการทำงานปกติ
2. ไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์
3. ประกอบด้วยตัวชี้วัดทางด้านการเงินเท่านั้น
4. ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่เป็นผล (Lag Indicators) เท่านั้น
7. ข้อมูลใดต่อไปนี้ไม่ใช่ระดับหรือประเภทของตัวชี้วัด
1. ตัวชี้วัดระดับองค์กร (Organization Indicators)
2. ตัวชี้วัดระดับกลุ่ม (Group Indicators)
3. ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน (Department Indicators)
4. ตัวชี้วัดระดับบุคคล (Individual Indicators)
8. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประโยชน์ของตัวชี้วัด
1. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับผลการดำเนินงานของหน่วยงาน บุคลากรเทียบเคียงกับหน่วยงานอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน
2. ทำให้ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์เพิ่มมากขึ้น
3. ทำให้เห็นภาพเป้าหมายของการทำงานชัดเจนขึ้น
4. ถูกทั้ง 1 และ 3
9. บริบทของคำว่า Benchmarking สำหรับการจัดทำตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPI) สามารถบ่งบอกหรือชี้วัดสิ่งใดได้บ้าง
1. เขาทำได้อย่างไร
2. เราจะทำให้ดีกว่าเขาอย่างไร
3. เราอยู่ตรงไหน
4. ผิดทุกข้อ
10. Dashboard คืออะไร
1. ซอฟต์แวร์สำหรับนำเข้าข้อมูลเพื่อประมวลผลและจัดเก็บในคอมพิวเตอร์
2. ซอฟต์แวร์สำหรับนำเข้าข้อมูลเพื่อประมวลผลและจัดเก็บในแท็บเล็ต
3. รายงานหรือแผนภูมิที่สามารถแสดงข้อมูลได้หลาย ๆ มุมมอง ในหน้าต่างหรือหน้าจอเดียวกัน ซึ่งอาจจะทางานอิสระจากกันหรือเชื่อมโยงกันได้
4. รายงานหรือแผนภูมิที่สามารถแสดงข้อมูลได้เพียงมุมมองเดียว ในหน้าต่างหรือหน้าจอเดียวกัน ซึ่งอาจจะทางานอิสระจากกันหรือเชื่อมโยงกันได้
posttest 8/10
1. ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างและแสดงผลตัวชี้วัดในการอบรมครั้งนี้ท่านสามารถเข้าใช้งานได้จาก URL ใดต่อไปนี้
1. https://www.simplekpi.com
2. https://www.simplekpi.co.th
3. https://www.simplekpi.ac.th
4. https://www.simplekpi.org
2. ในการสร้างหรือจัดทำตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPI) โดยใช้ MS Excel ใช้ผ่านคำสั่งใด
1. KPI Formatting
2. Conditional Formatting
3. KPI Conditional Formatting
4. Calculation Formatting
3. ทฤษฎีใดต่อไปนี้ที่นิยมนำมาใช้ร่วมกับการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน(KPI)
1. การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT)
2. ดัชนีวัดความสำเร็จแบบสมดุล(Balanced Scorecard: BSC)
3. การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
4. ถูกทั้ง 2 และ 3
4. ในการสร้างตัวชี้วัดย่อยข้อความนี้ "What is your KPI format" หมายถึงการกำหนดรายละเอียดใด
1. คำอธิบายเพิ่มเติม
2. หน่วยวัดของตัวชี้วัด
3. เป้าหมายของตัวชี้วัด
4. ประเภทของตัวชี้วัดหลัก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น